วันพฤหัสบดีที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บทความ การถือครองที่ดินทางการเกษตร


                                        เค้าโครงบทความ

1.ชื่อ พื้นที่เกษตรกรรมของเกษตรกร

2.บทนำ
การถือครองที่ดิน หมายถึง การเข้าไปทำประโยชน์บนผืนที่ดินนั้น โดยมีกรรมสิทธิ์ที่แท้จริงของผืนที่ดินนั้น เอกสารสิทธิ์ หมายถึง เอกสารที่ใช้แสดงสิทธิ์การเข้าครอบครองที่ดิน
เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร หมายถึง เนื้อที่รวมของที่ดินทุกผืนที่ถือครองอยู่และใช้ทำการเกษตร
ซึ่งอาจเป็นเจ้าของ เช่าหรือได้ทำฟรี
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ลักษณะการใช้ที่ดินเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเนื้อที่ดินเกษตรกรถือครองและที่สาธารณะโดยพิจารณาจากเจตนาการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
การถือครองที่ดินทางการเกษตรในประเทศไทย มีอยู่ด้วยกันหลายประเภท แต่ในที่นี้ยกมา 3 ประเภท คือ
1 ผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการใช้ปุ๋ย
2 ผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามเพศและหมวดอายุ
3 จำนวนสมาชิกในครัวเรือนผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามลักษณะการทำงาน
การถือครองที่ดินทางการเกษตรอย่างถูกต้องตามกฎหมายจะทำให้ผู้ที่ถือครองนั้นได้รับสิทธิประโยชน์ในการประกอบอาชีพบนที่ดินของตนเอง ไม่มีการลุกล้ำที่ดินของกันและกัน








3. เนื้อหา
3.1 ผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการใช้ปุ๋ย
   


2541
2546
2551
ชาย
50.1
51.1
48.9
หญิง
49.9
48.9
51.1






3.2 ผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามเพศและหมวดอายุ
  

2541
2546
2551
จำแนกตามหมวดอายุ



ต่ำกว่า  25 ปี
0.8
0.9
0.4
25-34 ปี
13
12.9
6.3
35-44 ปี
27
26.8
23
45-54 ปี
28
28
30.4
55-64 ปี
20
18.3
23.6
65 ปีขึ้นไป
11
13.1
16.3









3.3 จำนวนสมาชิกในครัวเรือนผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามลักษณะการทำงาน


2541
2546
2551
ทำงานเชิงเศรษฐกิจ
83.3
83.4
77.6
ทำงานเกษตรในที่ถือครองอย่างเดียว
46.7
37.1
34
ทำงานเกษตรในที่ถือครองและทำงานอื่น
33.3
39.9
37.6
ทำงานเกษตรในที่ถือครองเป็นหลัก
20
25.1
       22.0
รับจ้างทำงานเกษตรให้ผู้อื่นเป็นหลัก
2.5
3.6
3.9
ทำงานอื่นเป็นหลัก
10.8
11.2
11.7
ไม่ทำงานเกษตรในที่ถือครอง
3.3
6.4
5.9
ทำงานอื่นเป็นหลัก
3.2
5.7
5.5
ไม่ทำงานเชิงเศรษฐกิจ
16.7
16.6
22.4




4. บทสรุป
การถือครองที่ดินทางการเกษตร ส่วนใหญ่จะจำแนกลักษณะการถือครองที่ดินทางการเกษตรตามลักษณะการใช้ที่ดิน เช่น ข้าว จำนวนผู้ถือครองที่ปลูกข้าว เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการปลูก และขนาดเนื้อที่ถือครอง  , ยางพารา จำนวนผู้ถือครองที่ปลูกยางพาราและเนื้อที่เพาะปลูก จำแนกตามชนิดของสวนยาง และขนาดเนื้อที่ถือครอง   ,พืชไร่ จำนวนผู้ถือครองที่ปลูก เนื้อที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยว จำแนกตามพืชที่ปลูก ,พืชผัก สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ จำนวนผู้ถือครองที่ปลูก เนื้อที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวจำแนกตามพืชที่ปลูกจำนวนผู้ถือครองที่ปลูก เนื้อที่เพาะปลูก และจำนวนต้น จำแนกตามลักษณะการปลูก และพืชที่ปลูก    ,พืชยืนต้น ไม้ผล และสวนป่า  จำนวนผู้ถือครองที่ปลูก เนื้อที่เพาะปลูก และจำนวนต้นจำแนกตามลักษณะการปลูก และพืชที่ปลูก,ปศุสัตว์ จำนวนผู้ถือครองที่เลี้ยงสัตว์และจำนวนสัตว์ จำแนกตามชนิดพันธุ์ และขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น  , การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด การใช้ปุ๋ยและการป้องกัน/กำจัดศัตรูพืช,การใช้เครื่องจักร เครื่องมือ แรงงานสัตว์ และอุปกรณ์การขนส่งเพื่อการเกษตร,การจ้างลูกจ้างทำงานเกษตรและลักษณะการทำงาน,ลักษณะทางด้านประชากรของผู้ถือครองทำการเกษตร และสมาชิกในครัวเรือน,การศึกษาและการเป็นสมาชิกองค์กรด้านการเกษตร(ไม่รวมบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล),รายได้และหนี้สินของครัวเรือนผู้ถือครองทำการเกษตร(ไม่รวมบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล)
    
5.ข้อเสนอแนะ
ในการถือครองที่ดินภาครัฐควรมีมาตรการควบคุมกำกับดูแลในการถือครองที่ดิน เพื่อป้องกันมิให้นายทุนเข้ามากวานซื้อที่ดินจากเกษตรกร ซึ่งจะทำให้ปริมาณการทำการเกษตรกรรมลดลงเกษตรกรเองไม่มีอาชีพไม่สามรถเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ ควรมีการจัดสรรที่ดินให้กับประชาชนที่ไม่มีที่ทำกินและควรมีการปรับราคาสินค้าทางการเกษตรให้ยุติธรรมกับเกษตรกรให้มากที่สุด
 6. เอกสารอ้างอิง
                 http://loei.nso.go.th/loei/CWDWEB/SURVEY05.htm
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/agricult/ais-wk/ais-wk.pdf


เค้าโครงบทความ

รายวิชา 0109202 ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

เสนอ
.  ดร. กนกพร  รัตนสุธีระกุล

จัดทำโดย
นางสาวจิรพร จรุงพันธ์
รหัสนิสิต 52010125003 ระบบพิเศษ  สาขา CD ปี2




ปีการศึกษาที่ 2/ 2553
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น